บริษัท ปลาปากแหลม
ปลากระป๋องผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด ก่อตั้งขึ้นในปี 2555 เป็นบริษัทขนาดกลางด้วยเจตนารมณ์ที่มุ่งมั่น ในการที่จะผลิตอาหาร สำเร็จรูปคุณภาพสูงให้กับผู้บริโภค
เป็นผลิตภัณฑ์คุณภาพสำหรับเป็นอาหารมื้อหลัก
สะดวก เหมาะสำหรับทุกคนในครอบครัว นำไปประกอบอาหารได้หลากหลาย
หรือจะรับประทานเปล่าๆก็อร่อยถูกใจ
นโยบายของบริษัท
บริษัท มีความยึดมั่นในคุณภาพอันเป็
นรากฐาน และสิ่งสําคัญในอันที่จะทําให้ลูกค้าพึงพอใจ บริษัทจึงกําหนดนโยบายคุณภาพ
โดยเน้นที่จะ "ผลิตสินค้า" และ "บริการ" ที่มีคุณภาพ
มีความปลอดภัย สอดคล้องกับข้อกําหนดและตรงตามความต้องการของลู กค้า
มีการส่งมอบตรงเวลา สามารถแข่งขันใน ตลาดได้ โดยการพัฒนาบุ คลากรให้มีความร้
ความสามารถ ในการปฎิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล
นโยบายสิ่งแวดล้อม
บริษัทฯ
ตระหนักถึงความสําคัญของสิ่งแวดล้อม จึงม่งมั่นที่จะมีส่วนร่วมรับผิดชอบโดยการลดและป้
องกันสิ่งที่ทําให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม อันเป็ นผลสืบเนื่องจากกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการของทางบริษัทฯ
เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมาย และข้อกําหนดที่ เกี่ยวข้องกับลักษณะปัญหา
สิ่งแวดล้อมขององค์กร ด้วยการปฎิบัติอย่างจริงจัง
วัตถุประสงค์ของบริษัท
1. เพื่อเพิ่มจำนวนลูกค้าให้มากขึ้นและสร้างความเชื่อมั่นให้ลูกค้าเชื่อถือ
2. เพื่อเพิ่มภาพลักษณ์ที่ดีให้กับบริษัท
3. เพื่อการผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐาน
4. เพื่อเพิ่มการสร้างงานให้กับชุมชน
1. เพื่อเพิ่มจำนวนลูกค้าให้มากขึ้นและสร้างความเชื่อมั่นให้ลูกค้าเชื่อถือ
2. เพื่อเพิ่มภาพลักษณ์ที่ดีให้กับบริษัท
3. เพื่อการผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐาน
4. เพื่อเพิ่มการสร้างงานให้กับชุมชน
เป้าหมายของบริษัท
ต้องการให้ผลิตปลากระป๋องมาให้เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าให้ได้มากที่สุด
ต้องการให้ผลิตปลากระป๋องมาให้เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าให้ได้มากที่สุด
หน้าที่และปัญหาของแต่ละแผนก
แผนกบุคคล
หน้าที่ของแผนกบุคคล สรรหาและจัดจ้างบุคลากร
พัฒนาประเมินผลและปรับปรุงคุณภาพของบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ ตรวจเช็คเวลาเข้า-ออกของพนักงาน
กำหนดค่าตอบแทนในการทำงานโดยตรงและจัดสรรผลประโยชน์โดยอ้อมให้กับบุคลากรอย่างได้มาตรฐาน
จัดสรรสวัสดิการ
ปัญหาในแผนกบุคคล
1.ไม่สามารถลงบันทึกเวลางานพนักงาน
2. การแก้ไขและบันทึกประวัติพนักงานทำได้ยาก
3. ฝ่ายบุคคลจะไม่ทราบว่าพนักงานทำงานอยู่ตรงไหนและทำอะไร
4. จัดสรรเงินเดือนกับพนักงานในแผนกต่างๆ
แผนกบัญชี
หน้าที่ของแผนกบัญชี รับผิดชอบดำเนินการจ่ายเงิน
เก็บรักษาเงิน ดำเนินการด้านภาษีต่างๆ การปิดเปิดบัญชี
ตรวจและจัดทำใบสำคัญ ใบสำคัญเงินโอน
และใบแจ้งโอนบัญชี จัดทำรายงานเงินสดคงเหลือประจำวัน
งบกระแสเงินสด ประมาณการรายได้และค่าใช้จ่าย
ปัญหาในแผนกบัญชี
1.เอกสารมีจำนวนมากทำให้จัดเก็บไม่เป็นระเบียบและเสี่ยงต่อการสูญหายได้ง่าย
1.เอกสารมีจำนวนมากทำให้จัดเก็บไม่เป็นระเบียบและเสี่ยงต่อการสูญหายได้ง่าย
2. การค้นเอกสารระหว่างการทำงานหรือค้นหาย้อนหลังทำได้ยาก
เนื่องจากเอกสารมากทำให้เสียเวลา
3. ควบคุมรายรับ – รายจ่ายของบริษัทได้ยาก
4. การตรวจสอบทำได้ยาก เนื่องจากเอกาสารมีมากไม่เป็นหมวดหมู่
5. เสี่ยงต่อการปลอมแปลงเอกสาร
แผนกการขาย
หน้าที่ของแผนกการขาย ในการบริการจำหน่ายสินค้าให้กับลูกค้า
โดยแผนกขายจะมีการเก็บข้อมูลของลูกค้าที่มาสั่งซื้อและข้อมูลการสั่งซื้ออธิบายรายละเอียดของสินค้าที่ลูกค้าสนใจ
ปัญหาในแผนกการขาย
1.เอกสารมีจำนวนมากทั้งเอกสารสินค้า เอกสารลูกค้า ทำให้มีปัญหาในการจัดเก็บ
2.การค้นหาเอกสารทำได้ยาก
3. การตรวจสอบย้อนหลังและคิวจองสินค้าทำได้ยาก
4. ข้อมูลอาจเกิดความซับซ้อนเนื่องจากลูกค้ามีหลายคนทำให้ไม่ทราบว่าจัดทำรายละเอียดลูกค้าไปแล้ว
แผนกซ่อมบำรุง
หน้าที่ของแผนกซ่อมบำรุง กำหนดนโยบายและวางแผนการบริหารงานซ่อมบำรุงทั้งหมดในบริษัท
/ โรงงาน ทั้งในด้านเครื่องกลและไฟฟ้าควบคุมดูแลงานซ่อมบำรุงเชิงป้องกันในการตรวจสอบสภาพของเครื่องจักรให้สามารถใช้งานได้บำรุงให้สามารถสนับสนุนการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปัญหาในแผนกซ่อมบำรุง
1. จัดลำดับก่อน – หลังการซ่อมบำรุงทำได้ยาก
2. เอกสารมีมาก
เนื่องจากก่อนจะทำการซ่อมบำรุงแต่ละครั้งต้องทำใบเบิกจ่ายอุปกรณ์จากคลังสินค้าเสียก่อน
3. หากวินิจฉัยปัญหาไม่ตรงจุด อาจทำให้เกิดความเสียหายได้
4. หากบุคคลไม่มีความรู้ความสามารถในการซ่อมบำรุงจะทำให้เกิดความเสียหายมากยิ่งขึ้น
แผนกประชาสัมพันธ์
หน้าที่ของแผนกประชาสัมพันธ์ ศึกษางานหรือสินค้าขององค์กร นโยบาย วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ต้องการ
ทำการประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ได้ข้อมูลมาใช้ในการวางแผนและดำเนินงาน
ปัญหาในแผนกประชาสัมพันธ์
1.หากประชาสัมพันธ์ไม่ทราบข้อมูลของบริษัทและตัวสินค้าอาจทำให้การประชาสัมพันธ์ทำได้ไม่ดีนัก
2. การประเมินความพึงพอใจของลูกค้าต้องทำด้วยตัวเอง
3. การประชาสัมพันธ์อาจทำได้ไม่ทั่วถึง
แผนกคลังสินค้า
หน้าที่ของแผนกคลังสินค้า วางแผนตรวจสอบระบบการรับสินค้าทั้งหมดทั้งจำนวนสินค้า
คุณภาพสินค้าการจัดเก็บรับสินค้าสำเร็จรูปและระบบการจัดเก็บสินค้าทั่วไปภายในสโตรจัดสรรพื้นที่ในการเก็บวัตถุดิบหรือสินค้าอนุมัติเอกสารการเบิกจ่ายสินค้าเข้าออกจากคลังควบคุมดูแลการเคลื่อนย้ายสินค้าโดยการตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายกำหนดกฎระเบียบเกี่ยวกับความปลอดภัยในการบริหารคลังสินค้า
ปัญหาในแผนกคลังสินค้า
1. ตรวจสอบสินค้าในคลังได้ยากว่ามีสินค้าคงเหลือเท่าไรต้องสั่งซื้อเพิ่มอีกเท่าไร
2. เช็คยอดการเบิกจ่ายสินค้าในคลังได้ยาก
3. หากบิลสินค้าไม่ถูกต้อง อาจก่อให้เกิดความเสียหายได้
4. ในการสั่งซื้อสินค้าอาจได้รับสินค้าได้ไม่ตรงตามต้องการ
5. เสี่ยงต่อการสูญหายได้ง่าย
ปัญหาระหว่างแผนก
ปัญหาระหว่างแผนกบัญชีกับแผนกบุคคล
- บัญชีและการเงินจะไม่สามารถจ่ายเงินเดือนให้พนักงานไม่ได้
หากแผนกบุคคลไม่แจ้งให้ทราบ
ปัญหาระหว่างแผนกบัญชีกับแผนกการขาย
- บัญชีและการเงินไม่สามารถสรุปรายได้ – รายจ่ายของบริษัทได้
หากการขายไม่แจ้งยอดขายให้ทราบ
- ถ้าการขายแจ้งยอดมาไม่ถูกต้องทางบัญชีและการเงินจะผิดพลาดไปด้วย
ปัญหาระหว่างแผนกบัญชีกับแผนกคลังสินค้า
- บัญชีและการเงินไม่สามารถทำเรื่องเบิกจ่ายให้ได้
หากคลังสินค้าไม่แจ้งยอดของบประมาณในการสั่งซื้อสินค้า
- ถ้าคลังสินค้าแจ้งยอดมาไม่ถูกต้อง ทางบัญชีและการเงินจะผิดพลาดไปด้วย
ปัญหาระหว่างแผนกบัญชีกับแผนกประชาสัมพันธ์
- บัญชีและการเงินไม่สามารถทำเรื่องเบิกจ่ายให้ได้
หากประชาสัมพันธ์ไม่แจ้งยอดของบประมาณในการประชาสัมพันธ์
ปัญหาระหว่างแผนกบัญชีกับแผนกการขาย
- บัญชีและการเงินจะทำยอดบัญชีผิดหากการขายส่งยอดขายมาผิด
- ทางบัญชีและการเงินจะไม่สามารถสรุปยอดเงินได้ หากการขายไม่แจ้งยอดมาให้
ปัญหาระหว่างแผนกบุคคลกับแผนกบัญชี
- บุคคลจะได้รับเงินไม่ถูกต้อง หากบัญชีและการเงินจ่ายเงินมาให้ไม่ครบถ้วน
ปัญหาระหว่างแผนกบุคคลกับแผนกคลังสินค้า
- บุคคลไม่สามารถตรวจสอบบุคคลที่มาปฏิบัติงานได้ว่าเป็นพนักงานจริงหรือไม่
ปัญหาระหว่างแผนกการขายกับแผนกประชาสัมพันธ์
- การขายอาจจะมียอดขายต่ำ หากไม่ได้รับประชาสัมพันธ์ที่เหมาะสมและทั่วถึง
ปัญหาระหว่างแผนกการขายกับแผนกคลังสินค้า
- การขายจะไม่สามารถขายสินค้าได้ หากสินค้าในคลังหมดและไม่แจ้งให้การขายทราบ
- หากแผนกคลังสินค้าไม่ทราบยอดสินค้า
แผนกขายก็จะไม่ทราบว่าจำนวนสินค้าว่าเพียงพอกับการขายหรือไม่
- หากแผนกขายขายสินค้าไปโดยไม่แจ้งแผนกคลังสินค้าๆก็จะไม่ทราบจำนวนสินค้าที่เหลืออยู่ ทำให้เสียเวลาในการตรวจนับใหม่
- หากแผนกขายขายสินค้าไปโดยไม่แจ้งแผนกคลังสินค้าๆก็จะไม่ทราบจำนวนสินค้าที่เหลืออยู่ ทำให้เสียเวลาในการตรวจนับใหม่
ปัญหาระหว่างแผนกการขายกับแผนกบุคคล
-การขายไม่สามารถทำได้
หากไม่มีพนักงานขาย
ปัญหาระหว่างแผนกคลังสินค้ากับแผนกบัญชี
- คลังสินค้าไม่สามารถสั่งซื้อสินค้าได้ หากไม่ได้รับเงินจากบัญชีและการเงิน
ปัญหาระหว่างแผนกคลังสินค้ากับแผนกซ่อมบำรุง
- คลังสินค้าจะไม่ทราบว่าสินค้าในคลังหายไปไหน
หากซ่อมบำรุงไม่แจ้งให้ทราบอาจก่อให้เกิดควาวุ่นวาย
ปัญหาระหว่างแผนกซ่อมบำรุงกับแผนกคลังสินค้า
- หากที่ซ่อมบำรุงอุปกรณ์เครื่องมือหมดต้องไปเบิกแผนกคลังสินค้า
ซึ่งอุปกรณ์บางชิ้นหมดไม่สามารถหาซื้อได้และระยะเวลาในการสั่งซื้ออุปกรณ์นั้นๆกินเวลาพอสมควร ซ่อมบำรุงก็จะไม่สามารถซ่อมบำรุงได้
ปัญหาระหว่างแผนกประชาสัมพันธ์กับแผนกบัญชี
- ทางประชาสัมพันธ์ไม่สามรถทำการประชาสัมพันธ์ได้ หากไม่ได้รับงบประมาณจากบัญชีและการเงิน
- ทางประชาสัมพันธ์ไม่สามรถทำการประชาสัมพันธ์ได้ หากไม่ได้รับงบประมาณจากบัญชีและการเงิน
ระบบที่จะนำมาแก้ปัญหา
1. ระบบบัญชีแยกประเภท
2. ระบบคำนวณเงินเดือน
3. ระบบงานบุคคล
4. ระบบคลังสินค้า
5. ระบบตรวจเช็คสินค้า
6. ระบบจัดเก็บข้อมูล
7. โครงการส่งเสริมการขาย
8. ระบบการขายและการจองสินค้า
2. ระบบคำนวณเงินเดือน
3. ระบบงานบุคคล
4. ระบบคลังสินค้า
5. ระบบตรวจเช็คสินค้า
6. ระบบจัดเก็บข้อมูล
7. โครงการส่งเสริมการขาย
8. ระบบการขายและการจองสินค้า
สรุปปัญหาทั้งหมด
1.เอกสารมีจำนวนมากทำให้จัดเก็บไม่เป็นระเบียบและเสี่ยงต่อการสูญหายได้ง่าย
2. การค้นเอกสารระหว่างการทำงานหรือค้นหาย้อนหลังทำได้ยาก
เนื่องจากเอกสารมากทำให้เสียเวลา
3. ควบคุมรายรับ – รายจ่ายของบริษัทได้ยาก
4. เสี่ยงต่อการปลอมแปลงเอกสารง่าย
5. หากมีการทำรายการผิดพลาดจะก่อให้เกิดความเสียหาย
6.ไม่สามารถรู้เวลาเข้า – ออกของพนักงานที่แท้จริง
7. การสืบค้นประวัติและแก้ไขประวัติของพนักงานทำได้ยาก
8. ฝ่ายบุคคลจะไม่ทราบว่าพนักงานในบริษัททำงานอยู่จริงหรือไม่
9. จัดสรรเงินเดือนได้ยากเนื่องจากพนักงานแต่ละคนมีเงินเดือนไม่เท่ากัน
10. ตรวจสอบยอดขายสินค้าหรือเช็คย้อนหลังทำได้ยาก
11. ข้อมูลอาจเกิดความซับซ้อนเนื่องจากลูกค้ามีหลายคนทำให้ไม่ทราบว่าจัดทำรายละเอียดลูกค้าไปแล้วหรือไม่
12.หากประชาสัมพันธ์ไม่ทราบข้อมูลของบริษัทและตัวสินค้าอาจทำให้การประชาสัมพันธ์ทำได้ไม่ดีนัก
13. การประเมินความพึงพอใจของลูกค้าต้องทำด้วยตัวเอง
14. การประชาสัมพันธ์อาจทำได้ไม่ทั่วถึง
15. ตรวจสอบสินค้าในคลังได้ยากว่ามีสินค้าคงเหลือเท่าไรต้องสั่งซื้อเพิ่มอีกเท่าไร
16. เช็คยอดการเบิกจ่ายสินค้าในคลังได้ยาก
17. หากบิลสินค้าไม่ถูกต้อง อาจก่อให้เกิดความเสียหายได้
18. ในการสั่งซื้อสินค้าอาจได้รับสินค้าได้ไม่ตรงตามต้องการ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น